แมงกะพรุนกะหล่ำดอก (Cauliflower Jellyfish, Crown Jellyfish)
- แมงกะพรุนกลับหัว (Upside-down Jellyfish)
- แมงกะพรุนไข่ดาว (Fried Egg Jellyfish, Mediterranean Jellyfish)
- แมงกะพรุนไข่แดง (Egg-yolk Jellyfish)
- แมงกะพรุนหางจิ้งจก (Lizard-tail Jellyfish)
- แมงกะพรุนแผงคอสิงโต (Lion’s Mane Jellyfish)
- แมงกะพรุนอมตะ (Immortal Jellyfish)
- แมงกะพรุนหมวกซานตาคลอส (Santa’s Hat Jellyfish, Helmet Jellyfish)
- แมงกะพรุนยูเอฟโอ (Flying Saucer Jellyfish, Deep-Sea Crown Jelly)
- แมงกะพรุนไต่ใบไม้ (Leaf-crawler Jellyfish)
- แมงกะพรุนกะหล่ำดอก (Cauliflower Jellyfish, Crown Jellyfish)
- แมงกะพรุนหมวกดอกไม้ (Flower Hat Jelly)
- แมงกะพรุนดาร์ธเวเดอร์ (Darth Vader Jellyfish)
- แมงกะพรุนกล่องออสเตรเลีย (Australian Box Jellyfish, Sea Wasp)
- แมงกะพรุนกล่องอิรุคันจิ (Irukandji jellyfish)
- แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส (Portuguese Man’O War, Blue bottle Jellyfish)
- หวีวุ้นนักตีลังกา (Sea Gooseberry)
- สุดยอดแห่งความยาว – Giant Siphonophore
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cephea cephea
หมวดหมู่ : Phylum Cnidaria >> Class Scyphozoa >> Order Rhizostomeae
สถานที่พบ : อินโดแปซิฟิก
กะหล่ำชนิดนี้เราสามารถกินได้! นี่คือหนึ่งในสายพันธุ์แมงกะพรุนที่ถูกมนุษย์จับมาทำเป็นอาหาร โดยเฉพาะในจีนและญี่ปุ่น พวกมันมักเติบโตเป็นวัย Medusa ในช่วงเวลาเดียวกัน ทำให้เกิดภาวะแมงกะพรุนสะพรั่ง (bloom) บ่อยครั้ง ครั้งแรกที่มีบันทึกไว้คือที่อียิปต์ในปี 2011 โดยคาดว่ามีนับหมื่นตัว บางพื้นที่มีความหนาแน่นถึง 20 ตัว ต่อลูกบาศก์เมตร
เจ้ากะหล่ำดอกจะอาศัยอยู่ในน้ำลึกเวลากลางวัน และขึ้นมาที่น้ำตื้นในเวลากลางคืน แถมสามารถเรืองแสงเพื่อให้ผู้ล่าตกใจได้ หน้าตาดูละม้ายคล้ายแมงกะพรุนไข่ดาว ใช่แล้ว! มันอยู่ในวงศ์ Cepheidae เดียวกันนั่นเอง
อ้างอิง: หนังสือ Jellyfish: A Natural History (เขียนโดย Lisa-ann Gershwin)